การตรวจสอบไฟฉุกเฉิน

Create By : 14 ตุลาคม 2565

        หากเกิดปัญหาขัดข้องในการจ่ายกระแสไฟ หรือไฟดับ อุปกรณ์”ไฟฉุกเฉิน” ก็จะทำหน้าที่ให้แสงสว่างสำรอง เพื่อความปลอดภัยของทุกคนในสถานที่นั้น และการดูแลรักษาอุปกรณ์ไฟฉุกเฉินก็เป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม ต้องตรวจเช็คอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าอุปกรณ์ มีความพร้อมที่จะใช้งานได้จริงเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น ไม่เพียงแค่ตามโรงงานหรืออาคารเท่านั้น แต่ไฟฉุกเฉินตามบ้านพักอาศัยก็ควรมีการทดสอบระบบและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอเช่นกัน


วิธีการตรวจสอบไฟฉุกเฉิน มีดังนี้

1. เสียบปลั๊กไฟจากตัวเครื่องเข้ากับเต้ารับ


2. กดเปิดเครื่อง โดยกดปุ่ม on ค้างทิ้งไว้ประมาณ 3 วินาที เครื่องจะทำงาน


3. กดปุ่ม test เพื่อทดสอบการทำงาน หากไฟสว่าง แสดงว่าไฟฉุกเฉินสามารถใช้งานได้ตามปกติ


วิธีการตรวจเช็ค 

        ทุกๆ 1 เดือน ต้องมีการทดสอบระบบไฟฉุกเฉินด้วยการป้อนกระแสไฟจากแบตเตอรี่เข้าสู่หลอดไฟ LED เป็นการจำลองความล้มเหลวของการจ่ายไฟสักระยะหนึ่ง เพื่อให้แน่ใจว่าหลอดไฟสามารถทำงานได้อย่างปกติ  และระยะเวลาทดสอบต้องไม่น้อยกว่า 30 นาทีหรือ ทุกๆ 6 เดือน ต้องมีการทดสอบระบบ โดยระยะเวลาทดสอบต้องไม่น้อยกว่า 60 นาที


อ่านบทความเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าภายในบ้านอื่นๆ ที่น่าสนใจได้ด้านล่างนี้

การตรวจสอบขั้วเต้ารับ

การตรวจตู้ไฟฟ้า

การตรวจสอบไฟฉุกเฉิน

อันตรายจากการถูกไฟฟ้าดูด

ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5

การตรวจสอบเบรกเกอร์กันดูดของเครื่องทำน้ำอุ่น

หลักการเลือกขนาดสายไฟให้เหมาะสมกับขนาดของเบรกเกอร์

หน้ากากบัสบาร์และแผงกั้นเฟส

ค่าไฟขึ้นเป็นหน่วยละ 5 บาท !!

การไล่วงจรเบรกเกอร์กันดูด

การอ่านตารางโหลด

สีสายไฟ

การตรวจวัดลำดับเฟส

การตรวจวัดค่าความต้านทานหลักดิน

การตรวจอุณหภูมิตู้ไฟฟ้า

สวิตซ์ไฟและเต้ารับอาร์ก เกิดจากอะไร ??

การตรวจเช็คเครื่องปรับอากาศ

การตรวจสอบสาย LAN

ความแตกต่างระหว่างมิเตอร์ปกติกับมิเตอร์ TOU

ทำอย่างไร เมื่อสายดินหลุดออกจากหลักดิน ??

สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ EV Charger

ทำอย่างไร เมื่อสายดินหลุดออกจากหลักดิน ??

สายดินหลุดออกจากหลักดิน Read More...

สวิตซ์ไฟและเต้ารับอาร์ก เกิดจากอะไร ??

สวิตซ์ไฟและเต้ารับอาร์ก เกิดจากอะไร ??Read More...

ทำไมต้องใช้ โดรน ตรวจหลังคา

Read More...